Category สกู๊ปศิลปินเพลงเก่า

คุยกับวง Blackhead อัลบั้ม Ten

บทสัมภาษณ์วง Blackhead นำโดย ปู แบล็คเฮด ถึงอัลบั้ม Ten จากนิตยสารภาพยนตร์บันเทิงอ่านต่อ

วงคาราวาน

สมาชิกวงคาราวาน วงดนตรีเพื่อชีวิตทีเ่ป็นตำนาน ประกอบไปด้วยสมาชิก 3 คน ได้แก่ สุรชัย จันทิมาธร มงคล อุทก และ อ่านต่อ

20 ปี คาราวาน ประวัติศาสตร์ที่ยังคงหายใจของบทเพลงจากกองเกวียน

วง คาราวาน

เดือนที่ผ่านมาอาจจะเป็นแค่เพียงเดือนหนึ่ง ที่บ่งบอกว่าวันเวลาของปีใหม่กำลังใกล้จะมาถึง แต่สำหรับอีกคนหลายคนที่ผู้เขียนเชื่อว่า ถึงแม้ว่าวันและเวลาที่...

อ่านต่อ

สมาชิกวงบอดี้แสลม

สมาชิกวงบอดี้แสลม

สมาชิกวง บอดี้แสลม ในยุคแรก มี 3 คน ดังนี้...

อ่านต่อ

เบิร์ด กุลพงศ์ บุนนาค ไม่ได้มามือเปล่า เอาเสียงเพลงมาฝากอีกแล้ว

หลังจากทิ้งความประทับใจผลงานเพลงชิ้นล่าสุดภายใต้ชื่อกลุ่มศิลปิน “SYSTEM 4” โดยการ นําของ เบิร์ด กุลพงศ์ บุนนาค แล้วต่างคนก็ต่างบินลัดฟ้าเพื่อกลับไปศึก...

อ่านต่อ

ทาทา ยัง Real Tata

ความแปลกใหม่ของอัลบั้ม Real TT

ทาทาได้เป็น Co-Producer ได้เข้าไปร่วมงานมากขึ้นจากที่เคยเป็นเพียงคนร้องอย่...

อ่านต่อ

ปฐมพร ปฐมพร ไม่ได้มามือเปล่า

ปฐมพร ปฐมพร ประวัติ

ชื่อ ปฐมพร
นามสกุล ปฐมพร
ภูมิลําเนา จังหวัดชลบุรี...

อ่านต่อ

รางวัล “สีสัน อะวอร์ดส์” ครั้งที่ 13

เพลงยอดเยี่ยม

“ตบมือข้างเดียว” คำร้อง – สุทธิพงษ์ สมบัติจินดา, ทำนอง – วุฒิชัย สมบัติจินดา...

อ่านต่อ

คุยกับ จอห์น รัตนเวโรจน์

จอห์น  รัตนเวโรจน์

จาก nuvo ที่ประสบความสำเร็จอย่างสูงสุด เมื่อกว่าสิบปีก่อน  เคยออกอัลบั้มเดี่ยวมาแล้วเมื่อปี 38  ช่วยเพื่อนเขียนเนื้อร้อง ในอัลบั้ม โจ + ก้อง Happen...

อ่านต่อ

สัมภาษณ์ เจมส์ เรืองศักดิ์ ในอัลบั้มเจมส์เฟสติวัล

(เจมส์เปิดตัวทั้งร้องทั้งเต้นในเพลง…”เทศกาลคนเจ็บอก”)

อ่านต่อ

บทสัมภาษณ์ เบิร์ด vol.1

Volume 1

มาดูกันว่ากว่าจะเป็น เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย ในวันนี้ได้ จุดเริ่มต้นของการเข้าสู่วงการบันเทิง พี่เบิร์ดผ่านอะไรมาบ้าง มาฟังพี่เบิร์ดเล่าให้ฟัง...

อ่านต่อ

โจอี้ บอย เชื้อปะทุ ลูกผสมฮิพฮอพ หมอลำ – เร็กเก้ – แร็พ

โจอี้บอย

โจอี้  บอย  เจ้าของเพลงแนว  ฮิพฮอพ  ทั้งเต้นทั้งร้องที่ดังระเบิดในหมู่วัยรุ่น  แต่งเพลงเองมาตลอด  หลายปีมาแล้ว  ตั้งแต่อายุ  ยังไม่บรรลุนิติภาวะ  เช่นเดียวกับทีมงานคนรุ่นใหม่ๆ วัยนักศึกษา

……….ออกอัลบั้มมาแล้วถึง 5 ชุด  ชุดหนึ่งๆ  ขายได้เกินแสนหรือเกือบแสนมัวน – ไม่น้อย

……….เป็นกลุ่มดนตรีที่นำเชื้อประทุทางดนตรีตามแนวฝรั่งที่เรียกว่า  “แร็พ”  แต็มรูปแบบมาปูพรมในเมืองไทย  อย่างออกรส

……….และบ่อยครั้งในบางชุดบางเพลง  มีเนื้อหาล่อแหลม  จนเป็นข่าวอยู่บ่อยๆ  รวมทั้ง  มิวสิควิดีโอ  และรูปแบบการประชาสัมพันธ์  อย่างเรื่องป้ายหาเสียงเลือกตั้ง  และชุดพยาบาลในมิวสิควิดีโอ

……….คนกลุ่มนี้เกือบทั้งหมด  เป็นหนุ่มสาวสไตล์นอก  ที่ไปเรียกรู้  ไปรับวัฒนธรรมต่างแดนมา  เกือบเต็ม – แต่เป็นเด็กไทย  ทำงานร่วมกับศิลปินช่างเทคนิค  นักดนตรี  แดนเซอร์  สารพัด  เชื้อชาติภาษา  ทั้งจากตะวันตก และจากแดนอาทิตย์อุทัย

……….เป็นส่วนผสมคนรุ่นใหม่  หลายวัฒนธรรม – วัฒนธรรมร่วมสมัยทางดนตรี  และมีความเชื่อร่วมกันว่า  เพลงของทุกชาติทุกภาษาเป็นส่วนผสมที่เข้ากันได้  ไม่ว่าจะเป็น  เพลง  แร็พ เร็กเก้ ฮิพฮอพ  หรือ รำวง  หมดลำ  หรือแนวอื่นๆ

……….แล้วเขาก็ทำงานออกมาเป็นแนวผสมอย่างที่เห็น และได้ยินกันบ่อยๆ  โดยเฉพาะในชุดล่าสุด  “ตัวฤทธิ์”  กับเพลงเนื้อไทยสไตล์ผสม  เก็กเก้  แร็พ  และเพลงพื้นบ้านไทย  

……….หนุ่มนักเต้นและสหาย  กับผลงานใหม่และทีมงานใหม่  กับประสบการณ์ของชีวิตและดนตรี

โจอี้  บอย  อายุ 28 ปี  หัวหน้าวง  แต่งเพลงและร้องนำ  เคยเดินทางไปศึกษาด้านดนตรี  ใช้ชีวิตที่อเมริกาและแคนาดา 2 ปี

เต้ง – เมธี  ขวัญบุญจัน (ดีเจ.ลิง – Monkey spider)  เป็นดีเจ. เปิดแผ่นที่ สหรัฐ  และเป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าประกวดที่อิตาลี่  ติดอันดับ 1 ใน 10

โอ๋ – หทัยรัตน์  เจริญชัยชนะ  มือเบส  สาวน้อยจากศิลปากร  เรียนด้านออกแบบและเป็นสไตล์ลิสต์  นางแบบ

เพชร – ชนัญญ์  โตกฤษณะ  จบมัธยมจาก  นิวซีแลนด์  และเรียนปริญญาตรีที่ ABAC  

*คุยกันเรื่องเพลงก่อน  ชุดนี้มีอะไรเด่นๆ ใหม่ๆ

(โจอี้)  เพิ่มสมาชิกเข้ามา  และเพิ่มดีเจ. เข้ามา  เมื่อมีวงดนตรีเพิ่มมาชิ้นหนึ่ง  มีสแกรชเข้า  รู้สึกตื่นเต้นและสนุก  จะสร้างสีสันให้กับคนดู  และตัวผมเองด้วย  จะได้ฟังอะไรที่มีสีสันมากขึ้น  คนที่ทำงานด้วยเรียกได้ว่า  เป็นเพื่อนกันมา  อย่างดีเจ.ลิง  ก็เป็นเพื่อนกันมาตั้งแต่สมัยเด็กๆ  มองอะไรได้แง่มุมเดียวกัน  สายเดียวกัน  ชอบดนตรีเดียวกัน

*โจอี้  ช่วยเล่าเรื่องเนื้อหาของเพลงหน่อย

เป็นมุมมองใกล้ๆตัว  อย่างเพลงซิงเกิ้ลแรก  สาละวัน  เคยได้ยินมานานแล้ว  เป็นเพลงเก่าๆ  คิดว่าเป็นเพลงหนึ่งที่สนุกสนานมาก  ผมคิดว่าทำไมไม่มีใครนำเอามาทำใหม่  เป็นเพลงที่เรียกว่าเมื่อเรานำมาเล่นบนเวทีแล้ว  ได้ร่วมกิจกรรมทั้งคนฟังและคนร้อง  มันเป็นเพลงที่สนุกมาก  ฟังมาตั้งแต่เด็กแล้ว    สงสัยมากว่าสาละวันแปลว่าอะไร  จนปัจจุบันก็ยังไม่ทราบแน่ชัดว่าแปลว่าอะไร

มีคนเคยบอกว่าเป็นชื่อที่เขาใช้เรียกแทนผู้หญิง  เหมือนกับแม่น้องนาง  แม่สาละวัน  ก็ชอบตรงจุดนั้น  อีกนัยหนึ่งคือเราได้ร่วมสนุกกับคนที่มาดูคอนเสิร์ต  ปกติคนทั่วไป

อ่านต่อ

โน้ต ตูน

โน้ตตูน

ชื่อ : ณัฐกานต์ ประสพสายพรกุล (โน๊ต)
การศึกษา : คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี 2...

อ่านต่อ

เรวัต พุทธินันทน์ คนดนตรีที่สร้างความยิ่งใหญ่ให้กับ “แกรมมี่”

เต๋อ เรวัติ

“แกรมมี่” เป็นบริษัทที่เริ่มทำธุรกิจบันเทิงในแขนงนี้แห่งแรก เป็นตัวเปิดตลาดการทำธุรกิจในแนวนี้ให้แพร่ขยายไปมากขึ้น และนับได้ว่าเป็นบริษัทที่ประสบความ...

อ่านต่อ

รางวัล สีสันอวอร์ด

ภารกิจของ “สีสัน อะวอร์ดส์” คือประทับเกียรติและให้กำลังใจคนที่ทำงานคุณภาพ ปลุกเร้าให้คนดนตรีได้สร้างสรรค์ผลงานด้วยความมุ่งมั่นซึ่งเท่ากับว่าคนดนตรีได้พัฒนาวงการของตนไปด้วย และปลายสุดคือตอบสนองต่อคนฟังผู้ใช้จ่ายเงินเพื่อซื้อหาความสุขทางดนตรีและสนับสนุนให้วงการดนตรีมีชีวิต

อยู่ได้ “สีสัน อะวอร์ดส์” อาจจะไม่ใช่รางวัลที่ใหญ่โตอะไรนัก แต่ก็ได้ก่อตั้งขึ้นมาด้วยเจตนาบริสุทธิ์

รางวัลสีสันอวอร์ด ครั้งที่ 1 ประจำปี พ.ศ.2531
ศิลปินชายเดี่ยวยอดเยี่ยม พงษ์เทพ กระโดนชำนาญ จากอัลบั้ม “ยิ้มเหงาๆ”
ศิลปินหญิงเดี่ยวยอดเยี่ยม จริยา ปรีดากูล จากอัลบั้ม “ยอดแหมะ”
ศิลปินกลุ่มยอดเยี่ยม วสันต์ โชติกุล และ อิสซึ่น จากอัลบั้ม “กีต้าร์โต๊ะ”
ศิลปินหน้าใหม่ยอดเยี่ยม นูโว จากอัลบั้ม “เป็นอย่างนี้ตั้งแต่เกิดเลย”

ครั้งที่ 2 ประจำปี พ.ศ.2532

ศิลปินชายเดี่ยวยอดเยี่ยม ปรีชา ชนะภัย จากอัลบั้ม “ดนตรีที่มีวิญญาณ”
ศิลปินหญิงเดี่ยวยอดเยี่ยม อลิส คริสตัน จากอัลบั้ม “หุ่นไล่กา”
ศิลปินกลุ่มยอดเยี่ยม ธนิสร์-เทียรี่-อำนาจ จากอัลบั้ม “ขอเดี่ยวด้วยคนนะ”
ศิลปินหน้าใหม่ยอดเยี่ยม ใหม่ เจริญปุระ จากอัลบั้ม “ไม้ม้วน”
เพลงยอดเยี่ยม “คนไร้ราก” คำร้อง แก้ว ลายทอง ทำนอง มงคล อุทก

ครั้งที่ 3 ประจำปี พ.ศ.2533
ศิลปินชายเดี่ยวยอดเยี่ยม ยืนยง โอภากุล จากอัลบั้ม “โนพลอมแพลม”
ศิลปินหญิงเดี่ยวยอดเยี่ยม ไม่มีผู้ได้รับรางวัล
ศิลปินกลุ่มยอดเยี่ยม เฉลียง จากอัลบั้ม “ตระไคร่น้ำสุดขอบฟ้า”
ศิลปินหน้าใหม่ยอดเยี่ยม ศุ บุญเลี้ยงกับไทละเมอ จากอัลบั้ม “หอมกลิ่นความฝัน”
อัลบั้มยอดเยี่ยม “โนพลอมแพลม” ของ ยืนยง โอภากุล
เพลงยอดเยี่ยม “โลกา-โคม่า” คำร้องและทำนอง ประภาส ชลศลานนท์

ครั้งที่ 4 ประจำปี พ.ศ.2534

ศิลปินชายเดี่ยวยอดเยี่ยม ฤทธิพร อินสว่าง จากอัลบั้ม “ก้าวที่กล้า”
ศิลปินหญิงเดี่ยวยอดเยี่ยม นันทิดา แก้วบัวสาย จากอัลบั้ม “บ่งบอก”
ศิลปินกลุ่มยอดเยี่ยม : ไมโคร จากอัลบั้ม “เอี่ยมอ่องอรทัย”
ศิลปินหน้าใหม่ยอดเยี่ยม : อารัก อาภากาศจากอัลบั้ม “คนเดินดิน”
อัลบั้มยอดเยี่ยม : “ก้าวที่กล้า” ของ ฤทธิพร อินสว่าง
โปรดิวเซอร์ยอดเยี่ยม : ฤทธิพร อินสว่าง จากอัลบั้ม “ก้าวที่กล้า”
เพลงในการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม : “วิงวอน” ศิลปิน ศุ บุญเลี้ยง
คำร้องและทำนอง ประภาส ชลศรานนท์ และ ศุ บุญเลี้ยง
เรียบเรียง ชัยวัฒน์ จุฬาพันธุ์
เพลงยอดเยี่ยม : “สูงสุดสู่สามัญ”
คำร้อง ธนพล อินทฤทธิ์
ทำนอง เทียรี่ เมฆวัฒนา

ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ.2535

ศิลปินชายเดี่ยวยอดเยี่ยม : เทียรี่ เมฆวัฒนา จากอัลบั้ม “ไม่เต็มบาท”
ศิลปินหญิงเดี่ยวยอดเยี่ยม : ศิริพร อยู่ยอด จากอัลบั้ม “ลีลา2”
ศิลปินกลุ่มยอดเยี่ยม : ตาวัน จากอัลบั้ม “ม็อบ”
ศิลปินหน้าใหม่ยอดเยี่ยม : ไฮดร้า จากอัลบั้ม “อัศเจรีย์”
อัลบั้มยอดเยี่ยม “ม็อบ” ของ ตาวัน
โปรดิวเซอร์ยอดเยี่ยม : ศิริศักดิ์ นันทเสน จากอัลบั้ม “เต็มเหนี่ยว”
เพลงในการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม : “กาม”
ศิลปิน ตาวัน
คำร้องและทำนอง พงษ์พรหม สนิทวงศ์ ณ อยุธยา
เรียบเรียง ตาวัน
เพลงยอดเยี่ยม : “ทะเลใจ”
คำร้องและทำนอง ยืนยง โอภากุล

ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ.2536

ศิลปินชายเดี่ยวยอดเยี่ยม : ศิริศักดิ์ นันทเสน จากอัลบั้ม “ยินดีต้อนรับ”
ศิลปินหญิงเดี่ยวยอดเยี่ยม : เสาวลักษณ์ ลีละบุตร จากอัลบั้ม “บันทึกของดอกไม้เหล็ก”
ศิลปินกลุ่มยอดเยี่ยม : ตาวัน จากอัลบั้ม “12 ราศี”
ศิลปินหน้าใหม่ยอดเยี่ยม : หิน-เหล็ก-ไฟ จากอัลบั้ม “หิน-เหล็ก-ไฟ”
อัลบั้มยอดเยี่ยม “รุ้งกินน้ำ” ของ อัสนี – วสัน โชติกุล
โปรดิวเซอร์ยอดเยี่ยม : หิน-เหล็ก-ไฟ จากอัลบั้ม “หิน-เหล็ก-ไฟ”
เพลงในการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม : “ทุกข์ไม่เว้นวันราชการ”
ศิลปิน อัสนี-วสัน โชติกุล
คำร้อง ประชา พงษ์สุพัฒน์
ทำนอง ชาตรี คงสุวรรณ
เรียบเรียง อัสนี โชติกุล
เพลงยอดเยี่ยม : “มือ”
คำร้อง ปิติ ลิ้มเจริญ
ทำนอง สุรชัย บุญแต่ง
เพลงบรรเลงยอดเยี่ยม : “ท้องฟ้า” โดย ธนิสร์ ศรีกลิ่นดี

ครั้งที่ 7 ประจำปี พ.ศ.2537

ศิลปินชายเดี่ยวยอดเยี่ยม : จรัล มโนเพ็ชร จากอัลบั้ม “ศิลปินป่า”
ศิลปินหญิงเดี่ยวยอดเยี่ยม : ฐิติมา สุตสุนทร จากอัลบั้ม “จู่โจม”
ศิลปินกลุ่มยอดเยี่ยม : โมเดิร์น ด๊อก จากอัลบั้ม “โมเดิร์น ด๊อก”
ศิลปินหน้าใหม่ยอดเยี่ยม : ไทร็อค จากอัลบั้ม “โยกหัว”
อัลบั้มยอดเยี่ยม : “ศิลปินป่า” ของ จรัล มโนเพ็ชร
โปรดิวเซอร์ยอดเยี่ยม : กมล สุโกศล แคลปป์ จากอัลบั้ม “โมเดิร์น ด๊อก”
เพลงในการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม : “สวัสดีแร๊ปโย่!”
ศิลปิน บิลลี่ โอแกน
คำร้อง บิลลี่ โอแกน
ทำนองและ เรียบเรียง เทียรี่ ตาเปียรัวโน
เพลงยอดเยี่ยม : “ศิลปินป่า”
คำร้องและ ทำนอง จรัล มโนเพ็ชร
เพลงบรรเลงยอดเยี่ยม : “เมด อิน ไทยแลนด์” โดย นุภาพ สวันตรัจฉ์

ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ.2538

ศิลปินชายเดี่ยวยอดเยี่ยม : สบชัย ไกลยูรเสน จากอัลบั้ม “ถามรักเธอ..(จนเจอ)ฟอร์ด”
ศิลปินหญิงเดี่ยวยอดเยี่ยม : วิยะดา โกมารกุล ณ นคร จากอัลบั้ม “คนพิเศษ”
ศิลปินกลุ่มยอดเยี่ยม : ไมโคร จากอัลบั้ม “สุริยคราส”
ศิลปินหน้าใหม่ยอดเยี่ยม : สบชัย ไกลยูรเสน จากอัลบั้ม “ถามรักเธอ..(จนเจอ)ฟอร์ด”
อัลบั้มยอดเยี่ยม “สุริยคราส” ของ ไมโคร
โปรดิวเซอร์ยอดเยี่ยม : สันธาน เลาหวัฒนาวิทย์
จากอัลบั้ม “สุริยคราส”
เพลงในการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม : “แรงดึงดูด”
ศิลปิน ทีโบน
คำร้องและทำนอง นกเขา
เรียบเรียง ทีโบน
เพลงยอดเยี่ยม : “หนทางนักสู้
คำร้องและ ทำนอง ฤทธิพร อินสว่าง
เพลงบรรเลงยอดเยี่ยม : “A Day Sado Island” โดย บอยไทย

ครั้งที่ 9 ประจำปี พ.ศ.2539

ศิลปินชายเดี่ยวยอดเยี่ยม : ธรรพ์ณธร ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา จากอัลบั้ม “TNT”

ศิลปินหญิงเดี่ยวยอดเยี่ยม : วิศรุตา ทัพแสง จากอัลบั้ม “แอม มาแจม”

ศิลปินกลุ่มยอดเยี่ยม : โซล อาฟเตอร์ ซิกซ์ จากอัลบั้ม “Soul After six”

ศิลปินหน้าใหม่ยอดเยี่ยม : โซล อาฟเตอร์ ซิกซ์ จากอัลบั้ม “Soul After six”
 
โปรดิวเซอร์ยอดเยี่ยม : พรชัย ศรีขจร จากอัลบั้ม “Crossover”

เพลงร็อคยอดเยี่ยม : “ในหัว”

ศิลปิน ไซค์ บี
คำร้อง ไบรอัน ยมจินดา
ทำนองและเรียบเรียง ไซค์ บี

ศิลปินชายร็อคยอดเยี่ยม : ธรรพ์ณธร ปาลกะวงศ์ ณ อยุธยา จากอัลบั้ม “TNT”

ศิลปินหญิงร็อคยอดเยี่ยม : สุกัญญา มิเกล จากอัลบั้ม “Crossover”

ศิลปินกลุ่มร็อคยอดเยี่ยม : ดิ โอฬาร โปรเจ็คท์ จากอัลบั้ม “ลิขิตดวงดาว”

อัลบั้มยอดเยี่ยม : “ในทรรศนะของข้าพเจ้า” ของ มาโนช พุฒตาล

อัลบั้มร็อคยอดเยี่ยม : “Wolfpack” ของ วูล์ฟแพ็ค

เพลงในการบันทึกเสียงยอดเยี่ยม : “อีกทีได้ไหม”

ศิลปิน โซลอาฟเตอร์ ซิกซ์

คำร้องและทำนอง วิศรุตเทพ สุพรรณเภสัช

เรียบเรียง โซล อาฟเตอร์ ซิกซ์

เพลงยอดเยี่ยม : “6 ตุลาคม 2519”

คำร้องและทำนอง พงษ์สิทธิ์ คำภีร์

เพลงบรรเลงยอดเยี่ยม : “พลังและความตั้งใจ” โดย ดิ โอฬาร โปรเจ็คท์

อ่านต่อ

“มาช่า” กับอัลบั้ม “FINE DAYS” (ไฟน์ เดย์)

มาช่า“มาช่า วัฒนพานิช” อัลบั้มที่มีชื่อว่า “FINE DAYS” กับภาพลักษณ์ที่ดูสวย เท่ และสดใส ทั้งตัวตนและแนวเพลงสไตล์ “พ๊อพอะคูสติก” ที่เธอชอบเป็น...

อ่านต่อ

บทสัมภาษณ์ นินา ญารินดา

นินา

Thaialbums : ญารินดา ชื่อเล่นชื่ออะไรคะ

Yarinda : ชื่อ นินา ค่ะ นอนู สระอิ นอนู สระอา...

อ่านต่อ

สัมภาษณ์ พิเศษ คริสติน่า อากีล่าร์

คริสติน่า อากิลาร์

Thaialbums : อัลบั้มชุดนี้ห่างจากชุดที่แล้ว 2 ปี ช่วงที่หายไป ไปทำอะไรบ้างคะ...

อ่านต่อ

บทสัมภาษณ์ พี่เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย์ จากกองถ่ายทำเบื้องหลังมิวสิควีดีโอ “กลับไม่ได้ ไปไม่ถึง”

บทสัมภาษณ์ พี่เบิร์ด ธงไชย แมคอินไตย์ จากกองถ่ายทำเบื้องหลังมิวสิควีดีโอ “กลับไม่ได้ ไปไม่ถึง” การเลือกนักแสดง และความเห็นเกี่ยวกับงานเพลงอ่านต่อ

เพลงไทยสากลกับวรรณคดีไทย

วรรณคดีไทยเพลงไทยสากลได้รับอิทธิพลจากวรรณคดีไทยทั้งทางด้านเนื้อหาและความคิดบางประการ ในสี่ลักษณะด้วยกันคือ...

อ่านต่อ

รวมภาพจากหนังสือแห่งความทรงจำ ชาตรีทศวรรษ

สวัสดีครับเพื่อนๆ แฟนๆ วงชาตรีที่รักทุกๆ ท่าน
จำได้มั้ยครับ…...

อ่านต่อ

พลิกตำนานวงชาตรี ตอนที่ 5

เพลงต่างๆของวงชาตรี พวกเราจะซ้อมร่วมกันหลังเลิกเรียนบางครั้งลูกเล่นต่างๆก็มักเกิดตอนซ้อม อย่างเพลงแฟนฉัน ตอนช่วงย้ำจังหวะโดยกลองและเบส หรืออย่างเพลง ร...

อ่านต่อ

ฟังวิทยุออนไลน์ FM.90 ลูกทุ่งรักไทย

ฟังวิทยุออนไลน์ FM.90 ลูกทุ่งรักไทย

อ่านต่อ

ฟังวิทยุออนไลน์ FM 90.75 MHz RMUTP Radio

[radioforge id=7]

ฟังวิทยุออนไลน์ FM 90.75 MHz RMUTP Radio

อ่านต่อ

พระนราธิป ตัวโน๊ตที่หายไป

พระนราธิป ตัวโน้ตที่หายไป (คัดลอกจาก หนังสือ แพรว)

ยี่สิบปีก่อ...

อ่านต่อ

พลิกตำนานวงชาตรี ตอนที่ 4

topani

ครั้งแรกที่วงได้ไปบันทึกเสียงตามที่นัดหมายไว้กับครูไพบูลย์ รู้สึกว่าจะเป็นตอนกลางคืน หลังจากไปรายการ TV วันนั้นซาวด์เอ็นจิเนียร์คงจะกลับบ้านกันหมดแล้...

อ่านต่อ

พลิกตำนานวงชาตรี ตอนที่ 3

topani

แม้ว่าจะผิดหวังจากการแสดงทีตึกอำนวยการ(ตึกกลาง) แต่ก็ไม่ได้ทำให้พวกเรารู้สึกท้อ โฟล์คซองชาตรีก็ยังคงดำเนินต่อไป หลังเลิกเรียนพวกเราก็ยังซ้อมดนตรีกันเ...

อ่านต่อ

พลิกตำนานวงชาตรี ตอนที่ 2

topani

ช่วงปิดเทอมปีหนึ่งนี้ แดงมีงานอดิเรกอยู่อย่างหนึ่งก็คือ ร้องเพลงคนเดียวกับกีตาร์โปร่งคู่ใจที่ห้องอาหารในเซ็นทรัล ชิดลม หลังจากนั้น เรา 3 คนในนามวงโฟล...

อ่านต่อ

พลิกตำนานชาตรี

topani

คำนำ
สวัสดีครับ น้องๆแฟนๆชาตรีทุกคนครับ ยินดีครับ ที่ได้มาเขียนพลิกตำนานชาตรี ให้น้องๆได้รับรู้กัน พี่เหมาขอเล่าเรื่องตั้งแต่วันแรกที่ แผนก...

อ่านต่อ

ภาพโฆษณาผลงานชุดสุดท้าย วงชาตรี

ภาพโฆษณาผลงานชุดสุดท้าย!
ก่อนที่วงชาตรี…จะเหลือไว้แต่เพียงตำนานและความทรงจำ...

อ่านต่อ

ภาพวันสุดท้าย ลานโลกดนตรี

ภาพวันสุดท้าย ลานโลกดนตรี 5 พฤษภาคม 2528

ลา ลาที มิได้ ลาจาก ชาตรี...

อ่านต่อ

ภาพแห่งความทรงจำ วงชาตรี

คลิกดูภาพสวยๆ ข้างใน ภาพแห่งความหลัง…พลังแห่งความรัก

อ่านต่อ

ชาตรีแฟนคลับ

ชมภาพและจดหมายเก่าๆ   ยังจำกันได้มั้ย? บัตรนี้! หลายคนมีก่อนบัตรประชาชนซะอีก...

อ่านต่อ

นิตยสาร ชาตรีแฟนคลับ

ใครจำได้บ้างว่า ซองเอกสารสีน้ำตาลซองนี้ พวกพี่ๆ วงชาตรีเขาเอาไว้ใส่อะไรให้พวกเรา?...

อ่านต่อ

สิ่งล่ะอันพันล่ะน้อย จาก วงชาตรี

ยังเก็บกันอยู่หรือเปล่าครับ?
สมาชิกชาตรีแฟนคลับครับ ยังเก็บกันอยู่หรือหายไปแล้ว…สร้อยคอที...

อ่านต่อ

ซองแผ่นเสียงชาตรีในยุคสมัยโฟล์คซอง

[gallery_bank type=”images” format=”masonry” title=”true” desc=”false” responsive=”true” display=”all” sort_by=”random” animation_effect=”” album_titl...

อ่านต่อ

ประวัติวงชาตรี

ชั้นแรกของพิพิธภัณฑ์ “ชาตรี” จะเป็นการนำเสนอ
ประวัติวง “ชาตรี...

อ่านต่อ

บทสัมภาษณ์ วงภราดร

บทสัมภาษณ์ศิลปินเพลงเก่า "วงภราดร: วงดนตรีในยุค 80 ออกอัลบั้มมา 2 ชุด คือชุด สุดสายตา และ เพียงเธอ สมาชิกวงได้เล่าถึงประสบการณ์การทำงานในสมัยนั้น และ ชีวิตในปัจจุบันอ่านต่อ

รำลึกวงภราดร

tape1logo_name

รำลึกความหลัง เขียนโดย เจี๊ยบ ยิ้มละไม
ร่วมให้ข้อมูลโ...

อ่านต่อ

คุยกันให้หายคิดถึง ฟรีเบิร์ดส

head_talk

สวัสดีค่ะชาวบ้านเพลงเก่าและแฟนเพลง ฟรีเบิร์ด ทุกคนนะคะ วันนี้ลี...

อ่านต่อ